ระบบทุนนิยม (Capitalism) เป็นระบบเศรษฐกิจที่เปิดโอกาสให้เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินการทางเศรษฐกิจว่าจะผลิดอะไร ผลิดเท่าใด ผลิตอย่างไรและผลิตเพื่อใคร โดยเอกชนจะมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและปัจจัยการผลิตต่างๆ รวมทั้งกรรมสิทธิ์ในสินค้าและบริการที่ผลิตได้
ระบบทุนนิยมนี้รัฐบาลจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวหรือควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ถ้ามีก็มีน้อยที่สุดรัฐจะไม่แข่งขันกับเอกชนแต่เป็นผู้สนับสนุน ทั้งนี้ กลไกของตลาดจะเป็นตัวกำหนด ราคา กำไรเป็นสิ่งจูงใจที่สำคัญของผู้ผลิต ราคและคุณภาพของสินค้าและบริการเป็นสิ่งจูงใจของ ผู้บริโภคก่อนตัดสินใจซื้อ เกิดการแข่งขันระหว่างกันอย่างเสรีในด้านคุณภาพ ราคา และการให้บริการต่างๆ
- การก้าวเข้าสู่ระบบทุนนิยมโลก
- สถานการณ์ปัจจุบันและปรากฏการณ์ที่สำคัญ
- การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
- บรรษัทข้ามชาติ
- การหมุนเวียนของเงินทุนระหว่างประเทศ
- แหล่งที่มาของเงินลงทุน
- ความเสี่ยงของเงินทุนหมุนเวียน
- การเก็งกำไรอัตราแลกเปลี่ยน
- ทฤษฎีการโจมตีค่าเงิน
- อาชญากรรมฟอกเงิน
- ผลกระทบจากการฟอกเงิน
- วิกฤติเศรษฐกิจ
- บทเรียนที่ประเทศไทยได้รับหลังวิกฤติเศรษฐกิจ
- นโยบายการค้าและการลงทุนในโลกยุคใหม่ : ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย
- ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกต่อการพัฒนาประเทศไทย
- การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย
- แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนาเพื่ออนาคตที่ดี
- แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น